กาลิเลโอ กาลิเลอี Galileo Galilei
กาลิเลโอ กาลิเลอี บิดาแห่งดาราศาสตร์สมัยใหม่
กาลิเลโอ กาลิเลอี หรือเรียกกันสั้นๆว่า กาลิเลโอนั้นเกิดที่เมือง ปิซา
ประเทศอิตาลี ในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1564 เป็นบุตรคนโตจาก
จำนวน 6 คนในครอบครัว
ประเทศอิตาลี ในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1564 เป็นบุตรคนโตจาก
จำนวน 6 คนในครอบครัว
บิดาชื่อ วินเชนโซ กาลิเลอี ขุนนาง นักคณิตศาสตร์ นักดนตรี และนักเขียน
มารดาชื่อ จูเลีย อัมมันนาตี
วัยเด็กของเขาศึกษาอยู่ที่เมืองปิซ่า เป็นเด็กฉลาด ใฝ่เรียน มีความสามารถ
หลายด้าน ทั้งวาดภาพ เล่นดนตรี และคณิตศาสตร์ เมื่อกาลิเลโออายุ
ได้ 8 ขวบ ครอบครัวได้ย้ายไปตั้งรกรากที่เมืองฟลอเรนซ์ได้เข้าศึกษาต่อ
ที่สถาบันฟลอเรนทีน (Florentine Academy) ในช่วงนั้นเองกาลิเลโอ
ได้ทำการเขียนหนังสือขึ้น 2 เล่ม เล่มแรกมีชื่อว่า Hydrostatic Balance
ซึ่งเป็นเรื่องเกี่ยวกับตาชั่ง และอีกเล่มหนึ่งมีชื่อว่า Centre of Gravity
นั้นเรื่องเกี่ยวกับจุดศูนย์ถ่วงของของแข็ง เล่มที่ 2 นี้เขาเขียนขึ้นมาเนื่องจาก
มาร์เชส กวิดูบาลโด เดล มอนเต แห่งเปซาโร (Marchese Guidubald Del
Monte of Pasaro) ซึ่งเป็นผู้ที่มีพระคุณต่อเขา ขอร้องให้กาลิเลโอเขียนขึ้น
จากหนังสือทั้ง 2 เล่มนี้เองที่ทำให้เขามีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักมากขึ้นในเวลาต่อมา
หลายด้าน ทั้งวาดภาพ เล่นดนตรี และคณิตศาสตร์ เมื่อกาลิเลโออายุ
ได้ 8 ขวบ ครอบครัวได้ย้ายไปตั้งรกรากที่เมืองฟลอเรนซ์ได้เข้าศึกษาต่อ
ที่สถาบันฟลอเรนทีน (Florentine Academy) ในช่วงนั้นเองกาลิเลโอ
ได้ทำการเขียนหนังสือขึ้น 2 เล่ม เล่มแรกมีชื่อว่า Hydrostatic Balance
ซึ่งเป็นเรื่องเกี่ยวกับตาชั่ง และอีกเล่มหนึ่งมีชื่อว่า Centre of Gravity
นั้นเรื่องเกี่ยวกับจุดศูนย์ถ่วงของของแข็ง เล่มที่ 2 นี้เขาเขียนขึ้นมาเนื่องจาก
มาร์เชส กวิดูบาลโด เดล มอนเต แห่งเปซาโร (Marchese Guidubald Del
Monte of Pasaro) ซึ่งเป็นผู้ที่มีพระคุณต่อเขา ขอร้องให้กาลิเลโอเขียนขึ้น
จากหนังสือทั้ง 2 เล่มนี้เองที่ทำให้เขามีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักมากขึ้นในเวลาต่อมา
นอกจากนั้นแล้วกาลิเลโอยังได้พิสูจน์ทฤษฎีของ อริสโตเติลเรื่องของมีน้ำหนัก
ต่างกันจะตกมาในเวลาที่ต่างกัน ในความสูงเท่ากัน นั้นไม่เป็นความจริง
ต่างกันจะตกมาในเวลาที่ต่างกัน ในความสูงเท่ากัน นั้นไม่เป็นความจริง
เพราะของเมื่อตกจากที่สูงพร้อมกัน ความสูงเท่ากันน้ำหนักต่างกันแต่ก็ตกมา
พร้อมกัน เขาได้ไปพิสูจน์ที่หอเอนปิซ่า เพื่อแย้งทฤษฎีของ อริสโตเติลได้สำเร็จ
พร้อมกัน เขาได้ไปพิสูจน์ที่หอเอนปิซ่า เพื่อแย้งทฤษฎีของ อริสโตเติลได้สำเร็จ
เป็นการแสดงให้เห็นว่าทฤษฎีของอาริสโตเติลผิด และของกาลิเลโอถูกต้อง
แต่อย่างไรก็ดี ทั้งปรัชญาและทฤษฎีของอริสโตเติลนั้น เป็นความเชื่อมา
ก่อนหน้านี้กว่าพันปี ต้องมีทั้งคนที่เห็นด้วยกับกาลิเลโอ และไม่เห็นด้วย
คนที่ไม่เห้นด้วยจึงได้กลั่นแกล้งเขาจนต้องลาออกจากมหาวิทยาลัย
แต่อย่างไรก็ดี ทั้งปรัชญาและทฤษฎีของอริสโตเติลนั้น เป็นความเชื่อมา
ก่อนหน้านี้กว่าพันปี ต้องมีทั้งคนที่เห็นด้วยกับกาลิเลโอ และไม่เห็นด้วย
คนที่ไม่เห้นด้วยจึงได้กลั่นแกล้งเขาจนต้องลาออกจากมหาวิทยาลัย
ปี ค.ศ. 1610 กาลิเลโอเผยแพร่งานค้นคว้าของเขาซึ่งเป็นผลสังเกตการณ์
ดวงจันทร์ของดาวพฤหัสบดี ด้วยผลสังเกตการณ์นี้เขาเสนอแนวคิดว่า
ดวงจันทร์ของดาวพฤหัสบดี ด้วยผลสังเกตการณ์นี้เขาเสนอแนวคิดว่า
ดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของจักรวาล เป็นการสนับสนุนแนวคิดของ
โคเปอร์นิคัส ซึ่งขัดแย้งกับแนวคิดดั้งเดิมของทอเลมีและอริสโตเติลที่ว่า
โลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาล
โคเปอร์นิคัส ซึ่งขัดแย้งกับแนวคิดดั้งเดิมของทอเลมีและอริสโตเติลที่ว่า
โลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาล
ปี ค.ศ. 1614 เขายังเคยถูก คุณพ่อโทมาโซ คัคชินิ ประกาศ
ขณะขึ้นเทศน์ในโบสถ์ซานตามาเรียโนเวลลา กล่าวประณามแนวคิด
ของกาลิเลโอที่หาว่าโลกเคลื่อนที่ว่าเขาเป็นบุคคลอันตรายและอาจ
เป็นพวกนอกรีต และยังรวมไปถึง
ในปี ค.ศ. 1616 พระคาร์ดินัล โรแบร์โต เบลลาร์มิโน ได้มอบเอกสาร
สั่งห้ามกับกาลิเลโอเป็นการส่วนตัว มิให้เขาไปเกี่ยวข้องหรือสอนหนังสือ
เกี่ยวกับทฤษฎีดาราศาสตร์ของโคเปอร์นิคัสอีก แต่อย่างไรซะการทำงาน
ด้านดาราศาสตร์ของเขามีอุปสรรคมากมายจากรอบข้างเขาจึงมุ่งเน้น
ไปที่การค้นคว้าเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์แทน
กาลิเลโอได้ประดิษฐ์เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ขึ้นหลายชิ้น ได้แก่
นาฬิกาน้ำ ไม้บรรทัด และเทอร์มอมิเตอร์ (Thermometer) เป็นต้น
และในปี ค.ศ. 1636 กาลิเลโอได้เขียนหนังสือขึ้นเล่มหนึ่งชื่อว่า
Dialoghi Della Nuove Scienze
ขณะขึ้นเทศน์ในโบสถ์ซานตามาเรียโนเวลลา กล่าวประณามแนวคิด
ของกาลิเลโอที่หาว่าโลกเคลื่อนที่ว่าเขาเป็นบุคคลอันตรายและอาจ
เป็นพวกนอกรีต และยังรวมไปถึง
ในปี ค.ศ. 1616 พระคาร์ดินัล โรแบร์โต เบลลาร์มิโน ได้มอบเอกสาร
สั่งห้ามกับกาลิเลโอเป็นการส่วนตัว มิให้เขาไปเกี่ยวข้องหรือสอนหนังสือ
เกี่ยวกับทฤษฎีดาราศาสตร์ของโคเปอร์นิคัสอีก แต่อย่างไรซะการทำงาน
ด้านดาราศาสตร์ของเขามีอุปสรรคมากมายจากรอบข้างเขาจึงมุ่งเน้น
ไปที่การค้นคว้าเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์แทน
กาลิเลโอได้ประดิษฐ์เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ขึ้นหลายชิ้น ได้แก่
นาฬิกาน้ำ ไม้บรรทัด และเทอร์มอมิเตอร์ (Thermometer) เป็นต้น
และในปี ค.ศ. 1636 กาลิเลโอได้เขียนหนังสือขึ้นเล่มหนึ่งชื่อว่า
Dialoghi Della Nuove Scienze
ผลงานเด่นๆของกาลิเลโอ
- ค.ศ. 1584 ตั้งกฎเพนดูลัม (Pendulum) หรือกฎการแกว่างของนาฬิกาลูกตุ้ม
- ค.ศ. 1585 ตีพิมพ์หนังสือชื่อว่า Kydrostatic Balance และ Centre of Gravity
- ค.ศ. 1591 พิสูจน์ทฤษฎีของอาริสโตเติลที่ว่าวัตถุที่มีน้ำหนักเบาว่าผิด
อันที่จริงวัตถุจะตกถึงพื้นพร้อมกันเสมอ
อันที่จริงวัตถุจะตกถึงพื้นพร้อมกันเสมอ
- พัฒนากล้องโทรทรรศน์ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น และสามารถส่องดูดาว
บนจักรวาลได้
บนจักรวาลได้
- พบลักษณะพื้นผิวของดวงจันทร์
- พบว่าดาวมีหลายประเภท ซึ่งมีลักษณะแตกต่างกัน ได้แก่ ดาวเคราะห์
และดาวฤกษ์
และดาวฤกษ์
- พบทางช้างเผือก (Milky Way)
- พบบริวารของดาวพฤหัสบดี ว่ามีมากถึง 4 ดวง
- พบวงแหวนของดาวเสาร์ ซึ่งปากฎว่ามีสีถึง 3 สี
- พบว่าพื้นผิวของดาวศุกร์มีลักษณะคล้ายกับดวงจันทร์
- พบจุดดับบนดวงอาทิตย์ (Sun Spot)
- พบดาวหาง 3 ดวง
กาลิเลโอ เสียชีวิตเมื่อวันที่ 8 มกราคม ค.ศ. 1642 รวมอายุ 77 ปี แต่ด้วย
ความขัดแย้งกับคริสตจักร ร่างของเขาเลยถูกฝังลงที่ ห้องเล็ก ๆ ถัดจาก
โบสถ์น้อยของโนวิซที่ปลายสุดโถงทางเดินทางปีกด้านใต้ของวิหาร
ภายหลังเขาได้ย้ายหลุมศพไปไว้ยังอาคารหลักของมหาวิหารซันตาโกรเช
ในปี ค.ศ. 1737 หลังจากมีการสร้างอนุสาวรีย์ขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่เขา
ความขัดแย้งกับคริสตจักร ร่างของเขาเลยถูกฝังลงที่ ห้องเล็ก ๆ ถัดจาก
โบสถ์น้อยของโนวิซที่ปลายสุดโถงทางเดินทางปีกด้านใต้ของวิหาร
ภายหลังเขาได้ย้ายหลุมศพไปไว้ยังอาคารหลักของมหาวิหารซันตาโกรเช
ในปี ค.ศ. 1737 หลังจากมีการสร้างอนุสาวรีย์ขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่เขา
(มหาวิหารซันตาโกรเช เป็นวัดบาซิลิกาชั้นรองของนิกายโรมันคาทอลิก
ตั้งอยู่ที่เมืองฟลอเรนซ์ฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี)
ตั้งอยู่ที่เมืองฟลอเรนซ์ฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี)