รัฐกลันตัน ตรังกานู ปะลิส และไทรบุรี
ในรัชกาลที่ 5 พื้นที่ 80,000 ตร.กม. ในปี 2451 เป็นการแลกเปลี่ยนกันระหว่างสยาม
กับอังกฤษ การเสียดินแดนครั้งนี้ค่อนข้างจะดูเบากว่าครั้งอื่นๆเนื่องด้วยความที่เอาไป
แลกกับผลประโยชน์ของสยามมากกว่าการบังคับขู่เข็ญจากทางฝรั่งเศส
กับอังกฤษ การเสียดินแดนครั้งนี้ค่อนข้างจะดูเบากว่าครั้งอื่นๆเนื่องด้วยความที่เอาไป
แลกกับผลประโยชน์ของสยามมากกว่าการบังคับขู่เข็ญจากทางฝรั่งเศส
ดินแดนนี้แลกกับอำนาจศาลไทยที่จะบังคับคดีความผิดของคนอังกฤษ หรือคนใน
ปกครองของอังกฤษสามารถดำเนินคดีโดยศาลไทยได้โดยไม่ต้องผ่านกงศุลอังกฤษซึ่ง
จะทำให้คนไทยเสียเปรียบในเวลาเกิดเรื่องคดีความฟ้องร้องกันขึ้นและทางไทยหรือ
สยามในขณะนั้นตัดสินใจยก
ปกครองของอังกฤษสามารถดำเนินคดีโดยศาลไทยได้โดยไม่ต้องผ่านกงศุลอังกฤษซึ่ง
จะทำให้คนไทยเสียเปรียบในเวลาเกิดเรื่องคดีความฟ้องร้องกันขึ้นและทางไทยหรือ
สยามในขณะนั้นตัดสินใจยก
รัฐกลันตัน ตรังกานู ปะลิส และไทรบุรี เพราะเหตุใด
1. เพื่อขอกู้เงิน มาสร้างทางรถไฟสายใต้จากเพชรบุรีลงไปจนถึงชายแดนมลายู เพื่อ
ติดต่อกับดินแดนปลายแหลมมลายูทั้งหมด
2. เป็นการปลดหนี้สินที่ทางสยามมีอยู่กับจักรวรรดิอังกฤษนั้นทางหัวเมืองมลายูเหล่านั้น
จะเป็นคนชดใช้เอง
3. เพื่อแลกกับอำนาจศาลไทยที่จะบังคับคดีความผิดของคนอังกฤษในดินแดนไทย
หลังจากเสียเปรียบในสนธิสัญญาเบาว์ริง ที่เคนทำไว้กับอังกฤษ
4.ซักวันนึงดินแดนเหล่านั้นอังกฤษก็ต้องหาทางเอาไปไม่ทางใดก็ทางนึงแทนที่จะให้
เขาเอาไปแบบเสียเปล่าก็ชิงยกมาเป็นข้อแลกเปลี่ยนกับทางอังกฤษเสียเลย
5.ดินแดนเหล่านั้นมักเกิดกบฎขึ้นอยู่บ่อยๆแถมยังไกลยากต่อการที่ทัพใหญ่จากทาง
กรุงเทพจะไปปราบปรามได้สะดวก
สนธิสัญญาเบาว์ริง
ยังได้ประโยชน์กลับมาให้ประเทศชาติอาจจะดูเสียหน้าที่ต้องเสียแผ่นดินไปบ้างแต่ถ้า
เทียบกับประโยชน์ที่ชาติจะได้รวมถึงแก้ปัญหาในพื้นที่และเป็นการป้องกันที่จะเสีย
ดินแดนเหล่านั้นไปแบบฟรีๆที่ไม่ได้อะไรเลยถือว่าการเสียดินแดนครั้งนี้มีประโยชน์กับ
ทางสยามไม่ทางใดก็ทางนึงอยู่พอสมควร แถมยังได้ยกเลิกอนุสัญญาลับปี พ.ศ.2440
ที่ไทยเสียเปรียบต่ออังกฤษมานานซึ่งข้อแลกเปลี่ยนนี้นำเสนอโดย นายเอ็ดเวิร์ด สโตรเบล
ที่ปรึกษาราชาแผ่นดินชาวอเมริกันซึ่งทำให้ไทยได้เงินกู้จากอังกฤษจำนวน 4-5 ล้านปอนด์
โดยที่จ่ายดอกเบี้ยต่ำระยะชดใช้ประมาณ 40 ปี การลงนามในสัญญาสำเร็จขึ้นในวันที่ 10
มีนาคม 2451 เป็นการเสียดินแดนครั้งสุดท้ายในรัชกาลที่ 5